สัตวศาสตร์, เทคนิคการสัตวแพทย์
สัตวศาสตร์, เทคนิคการสัตวแพทย์
1.1 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต
1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต
1.3 กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกิต
1.4 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 6 หน่วยกิต
2.1 กลุ่มวิชาแกนวิทยาศาสตร์ 24 หน่วยกิต
2.2 กลุ่มวิชาแกนเกษตร 3 หน่วยกิต
2.3 กลุ่มวิชาชีพบังคับ 41 หน่วยกิต
2.4 กลุ่มวิชาชีพเลือก 18 หน่วยกิต
เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษา
1) มีความรู้ความเข้าใจและทักษะด้านเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และวิชาที่เกี่ยวข้องกับการประมง
2) สามารถบูรณาการองค์ความรู้และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างมีประสิทธิภาพ
3) สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงานด้านวิชาชีพการประมง รวมทั้งสามารถศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น
4) มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีต่องานอาชีพ ขยันหมั่นเพียร มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ซื่อสัตย์ อดทน มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม สามารถพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าอยู่เสมอและทํางานร่วมกับผู้อื่นได้
ตำแหน่งวิชาการ | ชื่อ-สกุล | คุณวุฒิ | สาขาวิชา |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ | นางพัชรี มงคลวัย** | วท.ม. วท.บ. | -วาริชศาสตร์ -วาริชศาสตร์ |
รองศาสตราจารย์ | นายโฆษิต ศรีภูธร** | ปร.ด. วท.ม. วท.บ. | -ชีววิทยา -วิทยาศาสตร์การประมง -ประมง |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ | นางนิศาชล ฤาแก้วมา** | วท.ด. วท.ม. วท.บ. | -เทคโนโลยีชีวภาพ -เทคโนโลยีชีวภาพ -ประมง |
อาจารย์ | นางสาวสุพันธ์ณี สุวรรณภักดี** | ปร.ด. วท.ม. วท.บ. | -เทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ -วิทยาศาสตร์การประมง -เทคโนโลยีการผลิตสัตว์น้ำ |
อาจารย์ | นางสาวพัชราวลัย ศรียะศักดิ์** | ปร.ด. วท.ม. วท.บ. | -เทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ -เทคโนโลยีการประมง -ประมง |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ | นายสมศักดิ์ ระยัน | ปร.ด. วท.ม. วท.บ. | -เกษตรศาสตร์ -เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ -การประมง |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ | นางสาวสุกัญญา คำหล้า | ปร.ด. วท.ม. วท.บ. | -ชีวเคมี -การประมง -ประมง |
อาจารย์ | นางสาวณัทธิยา ชำนาญค้า | ปร.ด. วท.ม. วท.บ. | -วิทยาศาสตร์ทางทะเล -วิทยาศาสตร์การประมง -ประมง |
อาจารย์ | นางสาวสมพิศ ตามสั่ง | วท.ม. วท.บ | -ชีววิทยา -ชีววิทยา |
อาจารย์ | นางสาวบุญทิวา ชาติชำนิ | วท.ม. วท.บ. | -เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม -ประมง |
อาจารย์ | นางสาวอมรรัตน์ รังสิวิวัฒน์ | วท.ม. วท.บ. | -เกษตรศาสตร์ -ประมง |
อาจารย์ | นางสาวกนกกาญจน์ วรวุฒิ | วท.ม. วท.บ. | -ทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อม -การประมง |
อาจารย์ | นายบารมี พ่วงพิศ | ปร.ด. วท.ม. คบ. | -เคมีอินทรีย์ -เคมีอินทรีย์ -เคมี |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ | นางสาวนัยนา เสนาศรี | วท.ม. วท.บ. | -การจัดการสิ่งแวดล้อม -ประมง |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ | นางสาวจิตรา สิมาวัน | วท.ม. วท.บ. | -เกษตรศาสตร์ -ประมง |
ตำแหน่งวิชาการ | ชื่อ-สกุล | คุณวุฒิ | สาขาวิชา |
อาจารย์ | นางสาวเกศรา อำพาภรณ์** | วท.ม. วท.บ. | สัตวศาสตร์ เกษตรศาสตร์ |
อาจารย์ | นางสาวอรอนงค์ พวงชมภู** | ปร.ด. วท.ม. วท.บ. | สัตวศาสตร์ สัตวศาสตร์ เกษตรศาสตร์ |
อาจารย์ | นายกฤษณธร สินตะละ | วท.ม. วท.บ. | สัตวศาสตร์ เกษตรศาสตร์ |
อาจารย์ | นายธนานันท์ บุญสิทธิ์ | วท.ม. วท.บ. | สัตวศาสตร์ เกษตรศาสตร์ |
อาจารย์ | นางไพวัลย์ ปัญญาแก้ว | วท.ม. วท.บ. | สัตวศาสตร์ สัตวศาสตร์ |
** อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
มุ่งให้การศึกษา และส่งเสริมความรู้เพื่อการประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่สำคัญของประเทศ เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่สำคัญของประเทศที่สร้างรายได้ให้แก่ประเทศ ทั้งภาคแรงงาน ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม ที่ครอบคลุมประชากรจำนวนมาก นอกจากนี้การผลิตสัตว์เป็นอุตสาหกรรมต้นน้ำที่ต้องผลิตวัตถุดิบในการผลิตอาหารสำหรับมนุษย์ ความสะอาดและความปลอดภัยจึงเป็นสิ่งสำคัญ การกำหนดโครงสร้างหลักสูตรจึงได้คำนึงถึงเนื้อหาความรู้ที่จะเกิดประโยชน์สูงสุด โดยการประยุกต์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์พื้นฐานในสาขาต่างๆ และความรู้ด้านการบริหารจัดการให้สามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพต่อไป
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 136 หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตร (Curriculum Structure)
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (General Education) 30 หน่วยกิต
1.1 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต
Social Sciences
1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต
Humanities
1.3 กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกิต
Languages
1.4 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 6 หน่วยกิต
Sciences and Mathematics
2. หมวดวิชาชีพเฉพาะ (Major Courses) 100 หน่วยกิต
2.1 กลุ่มวิชาชีพพื้นฐาน 41 หน่วยกิต
Core Courses
2.2 กลุ่มวิชาชีพบังคับ 44 หน่วยกิต
Compulsory Courses
2.3 กลุ่มวิชาชีพเลือก 15 หน่วยกิต
Electives Courses
3. หมวดวิชาเลือกเสรี (Free Electives) 6 หน่วยกิต
รายวิชา
1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
General Education 30 Credits
1.1) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต ให้เลือกศึกษาจากวิชาต่อไปนี้
Social Sciences Courses 6 Credits. Select from the following courses:
00-011-001 พลวัตทางสังคมกับการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข 3(3-0-6)
Social Dynamics and Happy Living
00-012-001 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม 3(3-0-6)
Life and Social Quality Development
หรือรายวิชาอื่นๆ ที่เปิดสอนในกลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
or other courses in Social Sciences courses.
1.2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต ให้เลือกศึกษาจากวิชาต่อไปนี้
Humanities Courses 6 Credits. Study from the following courses:
00-021-001* ทักษะการรู้สารสนเทศ 3(3-0-6)
Information Literacy Skills
00-021-002 การจัดการความรู้ 3(3-0-6)
Knowledge Management
00-022-001 คุณค่าของมนุษย์ :ศิลป์และศาสตร์ในการดำเนินชีวิต 3(3-0-6)
Human Value : Arts and Sciences in Daily Living
00-022-002 การพัฒนาบุคลิกภาพ 3(3-0-6)
Personality Development
00-023-001 กีฬาและนันทนาการเพื่อสุขภาพ 3(2-2-5)
Sport and Recreation for Health
หรือรายวิชาอื่นๆ ที่เปิดสอนในกลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
or other courses in Humanities courses.
* บังคับเรียน
1.3) กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกิต ให้เลือกศึกษาจากวิชาต่อไปนี้
Languages Courses 12 credits. Select from the following courses:
00-031-101 ภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาทักษะการเรียน 3(3-0-6)
English for Study Skills Development
00-031-102 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)
English for Communication
00-031-203 การอ่านภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3(3-0-6)
English Reading for Academic Purposes
00-031-204 สนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
English Conversation for Daily Life
00-031-205 การเขียนภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
English Writing for Daily Life
00-032-001 การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง 3(3-0-6)
Reading for Self Development
00-032-002 การใช้ภาษาไทยในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
Thai for Daily Life
00-032-101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)
Thai for Communication
00-034-001 การสนทนาภาษาจีนในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
Chinese Conversation for Daily Life
00-035-001 ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)
Korean for Communication
00-036-001 ภาษาเขมรในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
Khmer for Daily Life
หรือรายวิชาอื่นๆ ที่เปิดสอนในกลุ่มวิชาภาษา
or other courses in Language courses.
1.4) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 6 หน่วยกิต ให้เลือกศึกษาจากวิชาต่อไปนี้
Science and Mathematics Courses 6 credits. Study the following,
00-041-001 ชีวิตและสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
Life and Environment
00-041-002 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ 3(3-0-6)
Science and Modern Technology
00-041-003 วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ 3(3-0-6)
Science for Health
00-041-004 เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการใช้ชีวิตอย่างชาญฉลาด 3(3-0-6)
Information Technology for Smart Living
00-041-005 การเป็นผู้ประกอบการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3(3-0-6)
Entrepreneurship in Science and Technology
00-042-001 คณิตศาสตร์และสถิติที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
Mathematics and Statistics for Daily Life
หรือรายวิชาอื่นๆ ที่เปิดสอนในกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
or other courses in Science and Mathematics courses.
2) หมวดวิชาชีพเฉพาะ 100 หน่วยกิต
2.1) กลุ่มวิชาชีพพื้นฐาน 41 หน่วยกิต ให้ศึกษาจากรายวิชาต่อไปนี้
02-020-101 เคมีทั่วไป 1 3(3-0-6)
General Chemistry 1
02-020-102 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1 1(0-3-1)
General Chemistry Laboratory 1
02-040-102 ชีววิทยา 3(3-0-6)
Biology
02-040-103 ปฏิบัติการชีววิทยา 1(0-3-1)
Biology Laboratory
02-022-201 เคมีอินทรีย์ 1 3(3-0-6)
Organic Chemistry 1
02-022-202 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1 1(0-3-1)
Organic Chemistry Laboratory 1
03-021-301 ชีวเคมีทั่วไป 3(2-3-5)
General Biochemistry
02-040-123 จุลชีววิทยา 3(3-0-6)
Microbiology
02-040-124 ปฏิบัติการจุลชีววิทยา 1(0-3-1)
Microbiology Laboratory
02-040-218 พันธุศาสตร์ 3(3-0-6)
Genetics
02-040-219 ปฏิบัติการพันธุศาสตร์ 1(0-3-1)
Genetics Laboratory
02-070-103 หลักสถิติ 3(3-0-6)
Principles of Statistics
02-074-301 หลักการวางแผนการทดลอง 3(3-0-6)
Principles of Experimental Design
03-081-101 พื้นฐานช่างเกษตร 3(2-3-5)
Basic Farm Mechanics
03-021-102 หลักการเกษตร 3(3-0-6)
Principles of Agriculture
03-021-208 หลักและวิธีส่งเสริมการเกษตร 3(3-0-6)
Principles and Methods of Agriculture Extension
03-021-313 หลักธุรกิจเกษตร 3(3-0-6)
Principles of Agricultural Business
2.2) กลุ่มวิชาชีพบังคับ 44 หน่วยกิต ให้ศึกษาจากรายวิชาต่อไปนี้
03-026-101 ทักษะพื้นฐานทางการเกษตร 1(0-3-1)
Agricultural Basic Skills
03-010-304 สัมมนาสัตวศาสตร์ 1(1-0-2)
Animal Science Seminar
03-010-405 ปัญหาพิเศษสัตวศาสตร์ 3(2-3-5)
Special Problems in Animal Science
03-011-101 การผลิตสัตว์ 3(3-0-6)
Animal Production
03-011-302 การผลิตสัตว์ปีก 3(2-3-5)
Poultry Production
03-011-308 การผลิตสุกร 3(2-3-5)
Swine Production
03-011-309 การผลิตโคนม 3(2-3-5)
Dairy Production
03-011-310 การผลิตโค-กระบือเนื้อ 3(2-3-5)
Beef and Buffalo Production
03-011-316 การผลิตพืชอาหารสัตว์ 3(2-3-5)
Forage Crops Production
03-013-301 โภชนศาสตร์สัตว์ 3(3-0-6)
Animal Nutrition
03-013-302 อาหารและการให้อาหารสัตว์ 3(2-3-5)
Animal Feed and Feeding
03-014-201 กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์เลี้ยง 3(2-3-5)
Anatomy and Physiology of Domestic Animals
03-014-302 โรคและการสุขาภิบาลสัตว์ 3(2-3-5)
Animal Diseases and Sanitation
03-015-301 การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 3(3-0-6)
Animal Breeding
แผนการศึกษาสำหรับนักศึกษาที่เลือกฝึกงานสัตวศาสตร์
03-010-202* ฝึกงานสัตวศาสตร์ 3(0-24-0)
Field Practice Animal Science
03-010-303* ฝึกงานสัตวศาสตร์ในสถานประกอบการ 3(0-24-0)
Field Practice Animal Science in Private Sector
แผนการศึกษาสำหรับนักศึกษาที่เลือกสหกิจศึกษาทางสัตวศาสตร์
03-017-406* สหกิจศึกษาทางสัตวศาสตร์ 6(0-40-0)
Co-operative Education
2.3) กลุ่มวิชาชีพเลือก 15 หน่วยกิต ให้เลือกศึกษาจากรายวิชาต่อไปนี้
ให้เลือกเรียนตามความสนใจ ในกลุ่มวิชาต่างๆ
2.3.1) กลุ่มวิชาการผลิต
03-011-303 การผลิตเนื้อสัตว์ปีก 3(2-3-5)
Poultry Meat Production
03-011-304 การผลิตไข่ 3(2-3-5)
Egg Production
03-011-305 การผลิตไก่พื้นเมือง 3(2-3-5)
Native Chicken Production
03-011-307 การผลิตนกกระจอกเทศ 3(2-3-5)
Ostrich Production
03-011-311 การผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก 3(2-3-5)
Small Ruminant Production
03-011-312 การผลิตปศุสัตว์อินทรีย์ 3(2-3-5)
Organic Livestock Production
03-011-313 การผลิตสัตว์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง 3(3-0-6)
Economic Sufficiency Animal Production
2.3.2) กลุ่มวิชาการจัดการ
03-012-401 การจัดการของเสียจากสัตว์ 3(2-3-5)
Animal Waste Management
03-012-402 การจัดการฟาร์มสัตว์ปีก 3(2-3-5)
Poultry Farm Management
03-012-403 การฟักไข่และการจัดการโรงฟัก 3(2-3-5)
Incubation and Hatchery Management
03-012-404 การจัดการฟาร์มสุกร 3(2-3-5)
Swine Farm Management
03-012-405 การอนุรักษ์และการจัดการช้าง 3(2-3-5)
Management and Conservation of Elephant
03-012-406 การจัดการฟาร์มปศุสัตว์ 3(2-3-5)
Livestock Farm Management
03-012-407 การจัดการโรงเรือนสมัยใหม่ 3(2-3-5)
Modern Housing Management
03-012-408 การจัดการทุ่งหญ้าและพืชอาหารสัตว์ 3(2-3-5)
Forage and Pasture Management
2.3.3) กลุ่มวิชาโภชนศาสตร์
03-013-402 โภชนศาสตร์สัตว์ประยุกต์ 3(2-3-5)
Applied Animal Nutrition
03-013-403 โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง 3(2-3-5)
Ruminant Nutrition
03-013-404 วิเคราะห์อาหารสัตว์ 3(2-3-5)
Feed Analysis
03-013-405 โภชนศาสตร์สัตว์ไม่เคี้ยวเอื้อง 3(2-3-5)
Non-Ruminant Nutrition
03-013-406 การตรวจสอบและควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ 3(2-3-5)
Feed Inspection and Quality Control
2.3.4) กลุ่มวิชาสุขศาสตร์และสรีรวิทยา
03-014-404 ปรสิตในสัตว์ 3(2-3-5)
Animal Parasite
03-014-405 โรคและการสุขาภิบาลสุกร 3(3-0-6)
Swine Diseases and Sanitation
03-014-406 โรคและการสุขาภิบาลสัตว์ปีก 3(3-0-6)
Poultry Diseases and Sanitation
03-014-407 โรคและการสุขาภิบาลโค- กระบือ 3(3-0-6)
Cattle Diseases and Sanitation
03-014-408 กายวิภาคและสรีรวิทยาของช้าง 3(2-3-5) Anatomy and Physiology of Elephant
03-014-409 สรีรวิทยาและเทคโนโลยีการสืบพันธุ์ 3(2-3-5)
Physiology and Reproductive Technology
03-014-410 สรีรวิทยาการย่อยอาหารของสัตว์ 3(3-0-6)
Digestive Physiology of Domestic Animals
03-014-411 พิษวิทยา 3(3-0-6)
Toxicology
2.3.5) กลุ่มวิชาพฤติกรรมและการปรับปรุงพันธุ์
03-015-402 พฤติกรรมของสัตว์เลี้ยง 3(3-0-6)
Behavior of Domestic Animals
03-015-403 พฤติกรรมช้าง 3(3-0-6)
Behavior of Elephant
03-015-404 เทคโนโลยีชีวภาพในการผลิตสัตว์ 3(2-3-5)
Biotechnology in Animal Production
2.3.6) กลุ่มวิชาผลิตภัณฑ์จากสัตว์
03-016-401 วิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์ 3(2-3-5)
Meat Science
03-016-402 น้ำนมและคุณภาพน้ำนม 3(2-3-5)
Milk and Milk Quality
03-016-403 น้ำนมและผลิตภัณฑ์นม 3(2-3-5)
Milk and Milk Products
2.3.7) กลุ่มวิชาอื่นๆ
03-017-401 การประกวดและตัดสินสัตว์ 3(2-3-5)
Animal Showing and Judging
03-017-402 การจัดการธุรกิจช้าง 3(3-0-6)
Business Management in Elephant
03-017-403 คชลักษณ์และการประกวดตัดสินช้าง 3(2-3-5)
Elephant Showing and Judging
03-017-404 กฎหมายปศุสัตว์และสวัสดิภาพ 3(3-0-6)
Livestock Law and Welfare
03-017-405 เทคโนโลยีสารสนเทศทางสัตวศาสตร์ 3(2-3-5)
Information Technology for Animal Science
3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต นักศึกษาสามารถเลือกเรียนวิชาใดก็ได้ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต ที่เปิดสอนในระดับปริญญาตรี ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา และ/หรือ หัวหน้าสาขาวิชา Credits or more of any course which are in the course of undergraduate level at Rajamangala University of Technology Isan can be registered under advisor’s or head of the department’s approval.
1 สามารถนำเทคโนโลยีทางสัตวศาสตร์ ไปปฏิบัติทางวิชาการเกี่ยวกับการผลิตและการดำเนินงานในเชิงธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2 ปฏิบัติงานในหน้าที่ของนักวิชาการเกษตร ครูเกษตร หรือนักวิชาการเกษตรตามสาขาและลักษณะวิชาที่ได้เลือกศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3 ปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพ ด้วยหลักวิชาที่ได้มีการวางแผน และมีระบบด้วยความรอบคอบประหยัด รวดเร็ว ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
4 มีคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัย และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปรับปรุงตนเองให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ ขยันหมั่นเพียร ซื่อสัตย์สุจริต สำนึกในจรรยาของนักวิชาการเกษตรที่ดี และมีความรับผิดชอบต่อการพัฒนาสังคม และเสริมสร้างเอกลักษณ์ของไทย
ตำแหน่งวิชาการ | ชื่อ-สกุล | คุณวุฒิ | สาขาวิชา | สำเร็จการศึกษาจากสถาบัน |
อาจารย์ | นางสุจิตรา เจาะจง | ปร.ด. วท.ม. วท.บ. | เทคโนโลยีชีวภาพ พืชสวน พืชสวน | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
ผู้ช่วยศาสตรา จารย์ | นายอัมพร ภูศรีฐาน | วท.ม. ทษ.บ. | พืชสวน เทคโนโลยีภูมิทัศน์ | มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีการ เกษตรแม่โจ้ |
อาจารย์ | นายอินทร์ธัชว์ ศรีบุตต์ | M.Sc. วท.ม. วท.บ. | Life and Environmental Science ทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อม เกษตรศาสตร์ (พืชสวน) | Shimane University, Japan มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
อาจารย์ | นางสาววาสนา แผลติตะ | Ph.D. M.Ag. B.Ag. | Environmental Horticulture Environmental Horticulture Bio product | Chiba University, Japan Chiba University, Japan Chiba University, Japan |
อาจารย์ | วรรณวิภา พินธะ | ปร.ด. วท.ม. วท.บ | พืชไร่ (ปรับปรุงพันธุ์พืช) พืชไร่ (ปรับปรุงพันธุ์พืช) เทคโนโลยีการผลิตพืช | มหาวิทยาลัย ขอนแก่น มหาวิทยาลัย ขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 136 หน่วยกิต
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป General Education |
30 |
หน่วยกิต Credits |
1.1 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ Social Sciences |
6 |
หน่วยกิต Credits |
1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ Humanities |
6 |
หน่วยกิต Credits |
1.3 กลุ่มวิชาภาษา Languages |
12 |
หน่วยกิต Credits |
1.4 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ Sciences and Mathematics |
6 |
หน่วยกิต Credits |
2. หมวดวิชาเฉพาะ Major Courses |
100 |
หน่วยกิต Credits |
2.1 กลุ่มวิชาพื้นฐาน Basic Courses |
55 |
หน่วยกิต Credits |
2.2 กลุ่มวิชาบังคับ Compulsory Courses |
18 |
หน่วยกิต Credits |
2.3 กลุ่มวิชาเลือก Electives Courses |
27 |
หน่วยกิต Credits |
3. หมวดวิชาเลือกเสรี Free Electives |
6 |
หน่วยกิต Credits |
ปรัชญา
บัณฑิตหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติที่สามารถประยุกต์และพัฒนาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชอย่างสร้างสรรค์ และมีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม รวมถึงประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการทำงานได้อย่างเหมาะสม
ความสำคัญ
การกำหนดโครงสร้างหลักสูตรจึงได้คำนึงถึงเนื้อหาความรู้ที่จะเกิดประโยชน์สูงสุด โดยการประยุกต์ความรู้ทั้งศาสตร์และศิลป์ในการบริหารจัดการด้านการผลิตและการตลาดที่เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ต่างๆ เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติอย่างมีคุณภาพและคุณธรรม
1.2.1 มีคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัย และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปรับปรุงตนเองให้ก้าวหน้าอยู่เสมอขยันหมั่นเพียร ซื่อสัตย์สุจริต สำนึกในจรรยาบรรณของนักวิชาการเกษตรที่ดี และมีความรับผิดชอบต่อการพัฒนาสังคม และเสริมสร้างเอกลักษณ์ของไทย
1.2.2 มีความรู้ในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ สามารถออกแบบและประยุกต์ใช้ศาสตร์ดังกล่าวอย่างเหมาะสม เพื่อการประกอบวิชาชีพของตน และการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นไปได้ หรือการเป็นเจ้าของกิจการ
1.2.3 บัณฑิตมีความใฝ่รู้ในองค์ความรู้ และเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุมีผลและเป็นระบบ สามารถเลือกวิธีแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมด้วยความรอบคอบประหยัด รวดเร็ว ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
1.2.4 บัณฑิตมีมนุษยสัมพันธ์และมีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีทักษะในด้านการทำงานเป็นหมู่คณะ และสามารถสื่อสารได้ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
1) เทคโนโลยีการผลิตหมากเม่าพันธุ์ดี
2) การรวบรวม และปรับปรุงพันธุ์ข้าวพื้นเมือง
3) การรวบรวม และปรับปรุงฝ้ายที่เหมาะสมของจังหวัดสกลนคร
4) การรวบรวม และพัฒนากระบวนปลูก และผลิตเนื้อครามคุณภาพสูง
5) เทคโนโนโลยีการผลิตผัก
6) เทคโนโลยีการผลิตเห็ด
7) การปลูกพืช และการจัดการพืชในโรงเรือน
8) เทคโนโลยี และนวัตกรรมการผลิตแมลงเพื่อชีววิธี และโปรตีนสำหรับมนุษย์
9) การปรับภูมิทัศน์ และการตกแต่งสถานที่ และ
10) การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาขีดความสามารถของนักศึกษาในศตวรรษที่ 21
Curriculum Structure
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 33 หน่วยกิต
1.1) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต
1.2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
1.3) กลุ่มวิชาภาษา ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
1.4) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต
หมวดวิชาชีพเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 102 หน่วยกิต
2.1) กลุ่มพื้นฐานวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 50 หน่วยกิต
2.2) กลุ่มวิชาชีพบังคับ ไม่น้อยกว่า 52 หน่วยกิต
. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
ปรัชญา
ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ มีคุณธรรม มีทักษะวิชาชีพด้านการแพทย์แผนไทย บนพื้นฐานภูมิปัญญาและทรัพยากรท้องถิ่นเพื่อประชาชนสุขภาพดี
ความสำคัญ
การแพทย์แผนไทยมีประวัติและพัฒนาการมานานพร้อมกับการสร้างชาติ ต่อมามีการนำวิทยาการทางการแพทย์แผนตะวันตกเข้ามาในประเทศ ทำให้การแพทย์แผนไทยขาดการพัฒนาสืบทอดมาสู่คนรุ่นหลัง การแพทย์แผนไทยเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทย มีองค์ความรู้ ภูมิปัญญา ที่ทรงคุณค่าในการดูแลสุขภาพของคนไทย โดยใช้ศาสตร์ทางด้านเวชกรรมไทย เภสัชกรรมไทย ผดุงครรภ์ไทย และการนวดไทย ดังนั้นการแพทย์แผนไทยจึงเป็นทางเลือกหนึ่งในการดูแลสุขภาพที่ครอบคลุมมิติด้านการรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ ส่งเสริมและป้องกันโรค
หลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต มุ่งเน้นการนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยมาใช้ และถ่ายทอดอย่างเป็นระบบ โดยผลิตบัณฑิตทางด้านการแพทย์แผนไทยให้มีองค์ความรู้ มีความสามารถในการบำบัด ดูและ รักษา โดยให้บริการแบบองค์รวม มีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่อการแพทย์แผนไทย สามารถศึกษาค้นคว้าวิจัย และนำองค์ความรู้ด้านแพทย์แผนไทยที่ได้รับ มาใช้ในการบริการประชาชนให้มีสุขภาพที่ดี และสามารถให้บริการแบบวิชาชีพได้ในระดับสากล สามารถนำไปสร้างสุขภาพ สร้างงาน สร้างเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจในเอกลักษณ์ของความเป็นไทย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน และสถาบันสมทบ รับผิดชอบการจัดการศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี เพื่อผลิตกำลังคนให้แก่ระบบบริการสุขภาพทั่วประเทศ ปัจจุบันมีความต้องการบุคคลากรด้านสาธารณสุขในระดับปริญญาตรี สาขาการแพทย์แผนไทยเพิ่มมากขึ้น และมีความต้องการบุคลากรที่มีสมรรถนะด้านการรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ ส่งเสริม และป้องกันโรคของประชาชน ดังนั้น จึงมีความจำเป็นในการจัดการศึกษาหลักสูตรแพทย์แผนไทยบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย เพื่อผลิตบุคลากรที่มีสมรรถนะ สามารถปฏิบัติการและประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้มีการปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามกรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
เพื่อสร้างบัณฑิตแพทย์แผนไทยที่มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ และเจตคติตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ สาขาการแพทย์แผนไทย โดยมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
1) เพื่อผลิตบัณฑิตการแพทย์แผนไทย ให้มีความรู้ความสามารถ ทักษะ และมีคุณธรรมและ จริยธรรมในศาสตร์วิชาชีพการแพทย์แผนไทยรวมทั้งพื้นฐานวิทยาศาสตร์การแพทย์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2) เพื่อให้บัณฑิตสามารถนำหลักและวิธีการทางการแพทย์แผนไทย มาใช้ในการดูแลสุขภาพ การรักษาโรค ฟื้นฟูสุขภาพ ส่งเสริมและป้องกันโรคในรูปแบบองค์รวม ให้สอดคล้องกับระบบบริการสุขภาพ
3) เพื่อให้บัณฑิตสามารถบริหารจัดการ การบริการทางการแพทย์แผนไทยในสถานบริการ สุขภาพและชุมชน
4) เพื่อให้บัณฑิตสามารถศึกษา วิจัยหรือสร้างนวัตกรรมทางการแพทย์แผนไทย สามารถนำมา ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อวิชาชีพและการพัฒนาประเทศ
5) เพื่อให้บัณฑิตสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ทางการแพทย์แผนไทยให้เกิดประโยชน์ต่อ ชุมชนและสืบทอดสู่คนรุ่นหลัง
หลักสูตร มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
พิเชษฐ์ เวชวิฐานและคณะ. 2561. สมุนไพรในป่าครอบครัวสกลนคร. สาขาวิชาแพทย์แผนไทย คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.
บุษบา ปันยารชุน, จงกล พูลสวัสดิ์, สุมล จึงอุดมเจริญ, วิภาวี อนุพันธ์พิศิษฐ์. 2553. เปรียบเทียบการรักษาโรคจับโปงแห้งในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมระหว่างวิธีการักษาโดยการนวดไทยแบบราชสำนักกับวิธีรักษาโดยการประคบด้วยสมุนไพร. เผยแพร่ใน 9 ภูมิปัญญาไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หน้า 105-113.
ตำแหน่ง วิชาการ | ชื่อ – สกุล | คุณวุฒิ | สาขาวิชา |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ | จงกล พูลสวัสดิ์ | วท.ม. | คุรุศาสตร์เกษตร |
อาจารย์ | ทัณฑิกา แก้วสูงเนิน | วท.ม. | เภสัชเคมีและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ |
อาจารย์ | เพ็ญศิริ จันทร์แอ | ส.ม | สุขศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพ |
อาจารย์ | จตุพร ประทุมเทศ | วท.ม. | เภสัชเคมีและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ |
อาจารย์ | กนกวรรณ แสนสุภา | สม. | บริหารสาธารณสุขศาสตร์ |
*อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
Jongkol Poonsawat, Wiwat Sriwicha, Saowalak Phankaew, Pornnipa Rattanaphook, Ronnachai Poowanna, Tanawat Nuangsri, Benjaporn Mayoon. Efficacy of Fresh Herbs Knee Mask Formula to Relieve Knee Pain in Osteoarthritis Elderly Patients. International Conference on Food, Agriculture and Biotechnology 2018 (ICoFAB2018). August 30-31 2018.
Ronnachai Poowanna et al. Effects of Attire Herbal Compresses on reducing: low back pain at Sakon nakhon Thai Traditional Medicine Hospital (Luang Pu Fab Supatto). 11th Asia-Pacific Microscopy Conference (APMC11), Thailand, May 23 to 27, 2016.
Pinprapa Yangyun, Jongkol Poonsawat, Kanokon Nakhamin, Ronnachai Poowanna. Development of Foot Massage Creams using Essential Oils from Phlai (Zingiber montanum) To Relieve Foot Numbness in Diabetic Patients. International Postgraduate Symposium on Food, Agriculture and Biotechnology 2015 (IPSFAB 2015). 17 – 18 August 2015.
วิวัฒน์ ศรีวิชา พรประภา ชุนถนอม และรณชัย ภูวันนา. ผลของสารสกัดจากสมุนไพรต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อ Shigella dysenteriae. งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 6. 1-3 กันยายน 2558.
Ronnachai Poowunna, Natsajee Nualkaew, Somsak Nualkaew. 2015. Standardization of Thai Traditional Medicine Method for Treatment of Garcinia hanburuyi Hook.f Resins. Isan Journal of Pharmaceutical Sciences. (supplement). The International Conference on Herbal and Traditional Medicine Jan 28-30, 2015.
Penjun Meechonkit, Jongkol Poosawat, Vijittra Leardkamolkarn, Wiwat Sriwicha, Chareonsri Thonabulsombut, Ronnachai Poowanna et al. Primari Health Care by Thai Wisdom of Traditional Medicine: Case Study of Isan Folk Medicine Healer in Curative and Palliative Treatments of Symtoms Related to Neuromuscular Disorders. The 2nd International Anatomical Sciences and Cell Biology Conference. December 6th-8th, 2012.
Ronnachai Poowanna, Naruedon Hodruecha , Piriya Kumchoo, Jatuporn Prathumtet, Jongkol Poonsawat. Influence of Duration Times of Storage on the Caffeic Acid Contents in Pandanus amaryllifolius Root Decoction. IJPS 2017; 13 (Supplement): 83-8.
ชาทิตย์ ศิริสวัสดิ์, รณชัย ภูวันนา, สินธู มิ่งแนน วิวัฒน์, ศรีวิชา และจตุพร ประทุมเทศ. ผลของระยะเวลาการเก็บต่อปริมาณสารไซรินจินในยาต้มบอระเพ็ด. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. (ฉบับเสริม). งานประชุมวิชาการประจำปี การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือกแห่งชาติ ครั้งที่ 14. 2560.
จตุพร ประทุมเทศ พงสิทธิ์ แก้วพวง ศริญญา จันทพงษ์ และรณชัย ภูวันนา. การพัฒนาตำรับครีมย้อมผมหงอกจากเปลือกคูณและสีเสียดไทย. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. (ฉบับเสริม). งานประชุมวิชาการประจำปี การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือกแห่งชาติ ครั้งที่ 14. 2560.
รณชัย ภูวันนา และคณะ แรงจูงใจในการเลือกเรียน หลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร. งานประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 7. 1-3 กันยายน 2558.
จงกล พูลสวัสดิ์, ธนนันต์ ปาปะขี, วิวัฒน์ ศรีวิชา, พิเชษฐ เวชวิฐาน, รณชัย ภูวันนา, อุกฤษฏ์นาเมืองรักษ์, พัชริน ภูผาลินิน, วิจิตรา เลิศกมลกาญจน์, ศศิธร โรจนเนืองนิตย์, เพ็ญจันทร์ มีชนกิจ. 2553. การดูแลสุขภาพโดยภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสานในชุมชนแห่งหนึ่งของจังหวัดสกลนคร. เผยแพร่ใน วารสารการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก. 8, 2(ฉบับเสริม) (พ.ค.-ส.ค. 2553) 33 (การประชุมวิชาการประจำปี การแพทย์แผนไทยการแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือกแห่งชาติ ครั้งที่ 7 ระหว่างวันที่ 1-3 กันยายน 2553.
รณชัย ภูวันนา, ชาทิตย์ ศิริสวัสดิ์, สินธู มิ่งแนน, วิวัฒน์ ศรีวิชา, จตุพร ประทุมเทศ, ทัณฑิกา แก้วสูงเนิน และนฤวัตร ภักดี. ผลของระยะเวลาการเก็บรักษาต่อปริมาณสารไซรินจินในยาต้มบอระเพ็ด. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 (พ.ค.-เม.ย.). งานประชุมวิชาการประจำปี การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือกแห่งชาติ 2561.
The Effective of Health Education Program by Application of Self-Efficacy Theory and Social Support on Behavioral Modification for Low Back Pain with Ruesee Dudton Exercise Personnel at Rajamangkala University of Tecthnology Isan, Sakon Nakhon Campus. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ. ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 พฤศจิกายน 2558 – กุมภาพันธ์ 2559. หน้า 244-249
จุฑาทิพย์ ศิริศิลป์, เพ็ญศิริ จันทร์แอ, ไอลดา ยืนยั่ง, ศุภชัย บุญเอก. ความเชื่อของมารดาหลังคลอดในภาคอีสาน เขตจังหวัดสกลนคร ในการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชมงคลสุรินทร์วิชาการ ครั้งที่ 8. 22 – 23 ธันวาคม 2559
เพ็ญศิริ จันทร์แอ, พัชรินทร์ บุรีแสง, วงเดือน ชาธิพา. การศึกษาภูมิปัญญาพื้นบ้าน: กรณีศึกษาโรคเกี่ยวกับมดลูกของหมอเผิงแก้วดี ในการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชมงคลสุรินทร์วิชาการ ครั้งที่ 8. 22 – 23 ธันวาคม 2559. ชื่อการประชุม วิจัยเพื่อประเทศไทย 4.0
เพ็ญศิริ จันทร์แอ, วิไลพร คำประเทือง, มาลินี ตุ่ยไชย. ผลของการให้ความรู้เรื่องความเครียดร่วมกับการนวดกดจุดด้วยตนเอง เพื่อบรรเทาความเครียดในกลุ่มวัยทำงาน ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 ภายใต้หัวข้อ “ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อคุณภาพชีวิตและสังคมยั่งยืน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร. ได้ส่งผลงานเข้าร่วมนำเสนอภาคโปสเตอร์ (Poster Presentation). 26 พฤศจิกายน 2560.
กาญจนา คิดดีจริง, เพ็ญศิริ จันทร์แอ, สุพัตรา มนอิ่น, ธิดารัตน์ ศิริพัฒน์, จุฑาทิพย์ ศิริศิลป์, นครินทร์ ศรีปัญญา, ทัณฑิกา แก้วสูงเนิน. นวัตกรรมหุ่นโมเดลเส้นประธานสิบเพื่อพัฒนารูปแบบการศึกษาไทย ในการประชุมวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีวิชาการ 2017 ภายใต้หัวข้อ “วิจัยจากองค์ความรู้สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์. ได้ส่งผลงานเข้าร่วมนำเสนอภาคบรรยาย (Oral Presentation).
ทัณฑิกา แก้วสูงเนิน, รณชัย ภูวันนา, จตุพร ประทุมเทศ และ เพ็ญศิริ จันทร์แอ. การใช้ยาสมุนไพรในโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยสกลนคร (หลวงปู่แฟ้บ สุภัทโท) จังหวัดสกลนคร. งานประชุมวิชาการประจำปี การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือกแห่งชาติ ครั้งที่ 14. 2560. The
Jatuporn Pratoomted, Warisada Sila-on, Utsana Puapermpoonsiri. High Dose Cefazolin for Entrapment in Interpenetrating Network Hydrogel Comprising of natural rubber and rice starch. Isan Journal of Pharmaceutical Sciences. 2014; 9(1): 1-5.
Jatuporn Pratoomted, Warisada Sila-on, Chaiwute Vudjung, Utsana Puapermpoonsiri. Apparent Viscosity and Mechanical Properties Studies of Interpenetrating Network Hydrogel from Natural Rubber and Starch. Isan Journal of Pharmaceutical Sciences. 2014; 9(1): 6-10.
Warisada Sila-on, Jatuporn Pratoomted, Utsana Puapermpoonsiri, Chaiwute Vudjung, and Wiwat Pichayakorn. Thermal and Mechanical Properties of Natural Rubber/Rice Starch Interpenetrating Network Hydrogel. Advanced Materials Research. 2014; 844: 77-80.
Utsana Puapermpoonsiri, Jatuporn Pratoomted, Warisada Sila-On, Chaiwute Vudjung. Water Absorption and Swelling Property of Interpenetrating Network Hydrogel from Crosslinked Natural Rubber and Modified Rice Starch. Advanced Materials Research. 2014; 844: 73-76.
Meenraya Somdangchai, Wayoon Klangphapan, Pawornrat Poungsiri, Jatuporn Pratoomted, Warisada Silaon, Utsana Puapermpoonsiri. Study of Cefazolin Entrapment and Release From Hydrogel Patch Comprising of Natural Rubber and Modified Starch. Isan Journal of Pharmaceutical Sciences. 2014; 9(1): 33-37.
Ronnachai Poowanna, Naruedon Hodruecha , Piriya Kumchoo, Jatuporn Prathumtet, Jongkol Poonsawat. Influence of Duration Times of Storage on the Caffeic Acid Contents in Pandanus amaryllifolius Root Decoction. 1. 2017;13(1):83–8.
Kamolwan Jongjitt, Jaruwan Donthuan, Jatuporn prathumtet, Parichat Kaewkhamjan, Prakairat Kansuk. Determination of antioxidant, total phenolic compounds and facial cream formulation from Antidesma bunius extract. 1. 2017;13(1):209–18.
รณชัย ภูวันนา, ชาทิตย์ ศิริสวัสดิ์, สินธู มิ่งแนน ,วิวัฒน์ ศรีวิชา, จตุพร ประทุมเทศ,ทัณฑิกา แก้วสูงเนิน และนฤวัตร ภักดี. ผลของระยะเวลาการเก็บต่อปริมาณสารไซรินจินในยาต้มบอระเพ็ด. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. 2561; 16(1): 16-21.10th Annual Northeast Pharmacy Research
และสร้างนวัตกรรมด้านอาหาร สุขภาพและบริการ สำหรับผู้สูงอายุระดับภูมิภาคภายใน 5 ปี